หน้าแรก สมาชิก รายการวัตถุมงคล ตะกร้าวัตถุมงคล วิธีชำระวัตถุมงคล วิธีบูชาวัตถุมงคล ประวัติวัด ติดต่อวัด เว็บบอร์ด
สมาชิก Log in
อีเมล์
รหัสผ่าน
สมัครสมาชิกใหม่
ลืมรหัสผ่าน






ค้นหาวัตถุมงคล
 
 
 
หมวดวัตถุมงคล
  พระบูชา
  พระเหรียญ
  พระผง
  เครื่องราง
วัตถุมงคลของคุณ
รหัสวัตถุมงคล ราคา จำนวน
CC018 .00  1
  • ชำระค่าวัตถุมงคล
  • แก้ไขรายการวัตถุมงคล
  • วิธีสั่งบูชาวัตถุมงคล
  •  

    การสวดมนต์นั้นมีอานิสงส์
    การสวดมนต์นั้นมีอานิสงส์
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๓ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยว ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นไป ย่อมถึงความสิ้นไป
    ข้อควรปฏิบัติ ในการไปวัด
    ข้อควรปฏิบัติ ในการไปวัด
    ทุกครั้งที่พูดกับท่านควรพนมมือไหว้ ใช้สรรพนามที่ใช้เรียกตนเอง เช่น "กระผม" "ดิฉัน" โดยมองที่สถานะของพระเป็นตัวกำหนด หากท่านเป็นพระธรรมดา สรรพนามที่เรียกท่านมักนิยมคำว่า "ท่าน" "พระคุณเจ้า"
    การเลือกของใส่บาตรตามวันเกิด
    การเลือกของใส่บาตรตามวันเกิด
    ไหว้พระ : ปางรำพึง (พระประจำวันเกิด) มีกำลังเท่ากับ 21 (สวดแบบย่อ วา โธ โน อะ มะ มะ วา) พฤติกรรม : ทำตัวให้สดชื่นแจ่มใส บำรุง ดูแลตัวเองให้ดูดีอยู่ตลอด จัดสิ่งแวดล้อมให้น่าอยู่ สวยงาม เลิกการฟุ่มเฟือย
    ทุกข์ที่สุด จะหลุดได้อย่างไร
    ทุกข์ที่สุด จะหลุดได้อย่างไร
    อย่ากลัวว่าความทุกข์นั้น จะมีตลอดไป... อย่าคิดว่าไม่มีทางแก้ไข... หนทางที่เร็วที่สุดคือ เปลี่ยนอารมณ์... ท่านใดมีทุกข์ ขอให้มันผ่านไปโดยไว
    ต้นไม้ในพุทธประวัติ
    ต้นไม้ในพุทธประวัติ
    ในคัมภีร์ทางพุทธศาสนา ตำราชินกาลมาลีปกรณ์ กล่าวไว้ว่า พระพุทธเจ้าองค์แรก พระนามว่า “พระตัณหังกรพุทธเจ้า” ได้ประทับตรัสรู้ ณ ควงไม้สัตตบรรณ
    ประโยชน์ของสมาธิ
    ประโยชน์ของสมาธิ
    ประโยชน์ของสมาธิ พูดได้หลายอย่าง เช่น ประโยชน์ทางด้านอภิญญา ประโยชน์ทางด้านศาสนา ประโยชน์ทางด้านบุคลิกภาพ ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน
    คำวัด - วัด กับ วัตร
    คำวัด - วัด กับ วัตร
    เวฬุวนาราม เป็นวัดแห่งแรกในพระพุทธศาสนา แต่ก่อนเวฬุวันคือพระราชอุทยานของพระเจ้าพิมพิสาร พระเจ้าพิมพิสารได้ถวายพระราชอุทยานเวฬุวัน เป็นพุทธบูชาให้แก่พระพุทธเจ้า
    คำวัด - อภินิหาร ปาฏิหาริย์ พุทธคุณ
    คำวัด - อภินิหาร ปาฏิหาริย์ พุทธคุณ
    ในการสะสมและพกพาพระเครื่องและวัตถุมงคลนั้น มีคำอยู่ ๓ คำที่เกี่ยวข้องที่ผู้พกพาอยากให้คำเหล่านี้เกิดขึ้นกับตัวเองเสมอ คือ อภินิหาร ปาฏิหาริย์ และพุทธคุณ ขณะเดียวกันเรื่องเล่าเกี่ยวกับ อภินิหาร ปาฏิหาริย์ และพุทธคุณ
    คำวัด - กิจ - ของสงฆ์
    คำวัด - กิจ - ของสงฆ์
    "อะไรที่ไม่เกินกว่าพระธรรมวินัย ล้วนเป็นกิจของสงฆ์ทั้งสิ้น คนพึ่งวัดตั้งแต่เกิดจนตาย ทำไมพระและวัดจะทำอะไรกลับคืนเพื่อคนในสังคมไม่ได้" นี่เป็นคำจำกัดความของคำว่า "กิจของสงฆ์"
    คำวัด - พระเครื่อง เครื่องราง ของขลัง
    คำวัด - พระเครื่อง เครื่องราง ของขลัง
    คติความเชื่อในการสร้างพระเครื่องส่วนใหญ่ การสร้างให้มีขนาดเล็ก เพื่อที่จะสามารถสร้างได้จำนวนมาก สำหรับบรรจุในพระพุทธเจดีย์ เพื่อว่าในอนาคตเมื่อพระพุทธศาสนาเสื่อมลง
    โบสถ์-อุโบสถ-ผูกพัทธสีมา
    โบสถ์-อุโบสถ-ผูกพัทธสีมา
    "การทำบุญปิดทองฝังลูกนิมิตได้บุญมาก" เป็นคติความเชื่อของพุทธศาสนิกชน ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ด้วยเหตุผลที่ว่า หนึ่งวัดจะจัดได้เพียงครั้งเดียว ผู้ที่มีโอกาสได้ทำบุญปิดทองฝังลูกนิมิต
    คำวัด - อุโบสถ อุโบสถศีล
    คำวัด - อุโบสถ อุโบสถศีล
    อุโบสถ (อ่านว่า อุ-โบ-สด) ถือเป็นอาคารที่สำคัญภายในวัด เนื่องจากเป็นสถานที่ที่พระภิกษุสงฆ์ใช้ทำสังฆกรรม ซึ่งแต่เดิมในการทำสังฆกรรมของพระภิกษุสงฆ์จะใช้เพียงพื้นที่โล่งๆ ที่กำหนดขอบเขตพื้นที่สังฆกรรม
    คำวัด - ภัตตาหาร-สลากภัต
    คำวัด - ภัตตาหาร-สลากภัต
    คำว่า “สลากภัต” มาจากภาษาบาลี คือ สลาก + ภตฺต สองคำมารวมกันเป็น “สลากภัต” แปลว่า อาหารถวายพระภิกษุสงฆ์โดยวิธีจับสลาก นับเข้าในสังฆทาน เพราะเป็นการถวายทานแด่พระภิกษุสงฆ์ทั่วไป
    คำวัด - ฆราวาส -ฆราวาสธรรม
    คำวัด - ฆราวาส -ฆราวาสธรรม
    "ประธานฝ่ายฆราวาส" เป็นตำแหน่งของหัวหน้า หรือผู้นำในพิธีกรรมงานบุญต่างๆ และผู้ที่มักจะถูกยกให้เป็น "ประธานฝ่ายฆราวาส" มักจะเป็นข้าราชการที่มีตำแหน่งสูงสุด หรือสำคัญสุด ในพิธีกรรมงานบุญนั้นๆ "ประธานฝ่ายฆราวาส"
    คำวัด - ฉัน - หอฉัน
    คำวัด - ฉัน - หอฉัน
    พุทธศาสนิกชนจำนวนไม่น้อยคิดว่า ภิกษุจะฉันได้แค่ก่อน เวลาเพล หรือก่อนเที่ยงวันเท่านั้น แต่จริงๆ แล้ว ในพระวินัยปิฎก หมวด มหาวรรค บทที่ ๖. เภสัชชขันธกะ (ว่าด้วยเรื่องยาตลอดจนเรื่องกัปปิยะอกัปปิยะ และกาลิกทั้ง ๔) กล่าวไว้ว่า

    มีต่อหน้า >> 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69
    © Copyright 2011 www.watbangwaek.com All rights reserved